คำขวัญ-วิสัยทัศน์-พันธกิจ-ยุทธศาสตร์

คำขวัญตำบลสันป่าม่วง

” หัตถกรรมผักตบชวา งามสง่าดอยบุษราคัม เย็นฉ่ำน้ำตกขุนต๋อม

พลั่งพร้อมผักปลอดสารพิษ “

 

วิสัยทัศน์การพัฒนา

“ประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงสร้างพื้นฐานพร้อม สิ่งแวดล้อมน่าอยู่

มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน”

 

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

เทศบาลตำบลสันป่าม่วงได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา โดยกำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางพัฒนา ไว้ดังนี้

          ยุทธศาสตร์ที่ ๑  พัฒนาระบบเศรษฐกิจ

แนวทางพัฒนา

๑.  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน   เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและสนับสนุน ระบบเศรษฐกิจ

การท่องเที่ยว การค้าและการลงทุน

๒.  พัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ เพื่อประชาชน

๓.  พัฒนา  สนับสนุน  และบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว   กิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

๔.  พัฒนาองค์ความรู้ ระบบการผลิตแบบครบวงจร  เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรและเพิ่มศักยภาพ

การประกอบอาชีพ  รวมทั้งด้านการตลาดอย่างมีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล

ยุทธศาสตร์ที่ ๒  พัฒนาสังคม  การศึกษาและวัฒนธรรม

แนวทางการพัฒนา

  1. พัฒนาศักยภาพทุนทางสังคม และสร้างองค์ความรู้ให้ชุมชน มีภูมิต้านทาน กำหนดวาระการพัฒนาเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  2. การส่งเสริมอนุรักษ์ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  3. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับ เพื่อพัฒนาคนในชุมชนและท้องถิ่น
  4. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
  5. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบการจัดสวัสดิการประชาชน กลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคง
  6. ส่งเสริมบุคลากรภาครัฐ ประชาชน ให้มีทักษะชีวิต ภายใต้การอยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียน
  7. ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาวะในชุมชน

ยุทธศาสตร์ที่ ๓  บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการพัฒนา

๑.  อนุรักษ์และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืน

๒.  พัฒนาศักยภาพชุมชน  เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

  1. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ อปท. เพื่อการสนับสนุนการบริหารจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ ๔  ความมั่นคงและการรักษาความสงบเรียบร้อย

แนวทางการพัฒนา

  1. ปกป้อง และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา  และพระมหากษัตริย์ และเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ
  2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายในและตามแนวชายแดน
  3. เสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรประชาชนและพัฒนาศักยภาพด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  4. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ยุทธศาสตร์ที่ ๕  ส่งเสริมการบริหารจัดการตามหลักธรรมภิบาล

แนวทางการพัฒนา

๑.  บริหารจัดการองค์กร ตามหลักธรรมาภิบาล

๒.  ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเวทีเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชารัฐ

๓.  การพัฒนาสมรรถนะขององค์กร  และบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพ

๔.  ส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการการทำงานและพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วน

๒.3) เป้าประสงค์

  1. เพื่อพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ
  2.      เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียง (การพัฒนาคนและสังคมงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต)
  3. เพื่อพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
  4. เพื่อพัฒนาด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว
  5. เพื่อพัฒนาด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
  6. เพื่อพัฒนาด้านศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  7. พัฒนาด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพิ่มประสิทธิภาพการเมือง การบริหาร  การพัฒนาบุคลากร และกระบวนการประชาคม

          ๒.4) ตัวชี้วัด

  1. กรณีโครงการโครงสร้างพื้นฐาน วัดคุณภาพงานจากการที่ คกก.ตรวจรับงานจ้างตรวจรับงานโดยจะต้องได้คุณภาพงานที่ดี ไม่มีปัญหาและข้อท้วงติง
  2. กรณีโครงการด้านอื่นๆ วัดจากการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในโครงการทุกประการ

          ๒.5) ค่าเป้าหมาย

                    ยุทธศาสตร์ที่ ๑  พัฒนาระบบเศรษฐกิจ

แนวทางพัฒนา

๑.  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน   เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและสนับสนุน ระบบเศรษฐกิจ

การท่องเที่ยว การค้าและการลงทุน

๒.  พัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ เพื่อประชาชน

๓.  พัฒนา  สนับสนุน  และบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว   กิจกรรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

๔.  พัฒนาองค์ความรู้ ระบบการผลิตแบบครบวงจร  เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรและเพิ่มศักยภาพ

การประกอบอาชีพ  รวมทั้งด้านการตลาดอย่างมีคุณภาพและมาตรฐานในระดับสากล

ยุทธศาสตร์ที่ ๒  พัฒนาสังคม  การศึกษาและวัฒนธรรม

แนวทางการพัฒนา

  1. พัฒนาศักยภาพทุนทางสังคม และสร้างองค์ความรู้ให้ชุมชน มีภูมิต้านทาน กำหนดวาระการพัฒนาเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  2. การส่งเสริมอนุรักษ์ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
  3. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับ เพื่อพัฒนาคนในชุมชนและท้องถิ่น
  4. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
  5. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบการจัดสวัสดิการประชาชน กลุ่มเป้าหมาย เพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคง
  6. ส่งเสริมบุคลากรภาครัฐ ประชาชน ให้มีทักษะชีวิต ภายใต้การอยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียน
  7. ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาวะในชุมชน

ยุทธศาสตร์ที่ ๓  บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการพัฒนา

๑.  อนุรักษ์และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อความยั่งยืน

๒.  พัฒนาศักยภาพชุมชน  เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

  1. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ อปท. เพื่อการสนับสนุนการบริหารจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ ๔  ความมั่นคงและการรักษาความสงบเรียบร้อย

แนวทางการพัฒนา

  1. ปกป้อง และเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา  และพระมหากษัตริย์ และเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ
  2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายในและตามแนวชายแดน
  3. เสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรประชาชนและพัฒนาศักยภาพด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
  4. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ยุทธศาสตร์ที่ ๕  ส่งเสริมการบริหารจัดการตามหลักธรรมภิบาล

แนวทางการพัฒนา

๑.  บริหารจัดการองค์กร ตามหลักธรรมาภิบาล

๒.  ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างเวทีเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชารัฐ

๓.  การพัฒนาสมรรถนะขององค์กร  และบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพ

๔.  ส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการการทำงานและพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วน